Clock


วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554

อุปกรณ์เครื่องแก้วในห้อง Lab ชุดที่ 2

กรวยกรอง (Funnel)

กรวยกรองเป็นอุปกรณ์ที่ใช้คู่กับกระดาษกรอง(Filter Peper) ในการแยกของแข็งออกจาก

ของเหลวและมัก จะใช้สำหรับสวมบิวเรท เมื่อจะเทสารละลายลงในบิวเรทกรวยกรองมี
มุมเกือบๆ60 องศา และมีทั้งแบบก้านสั้นและก้านยาว กรวยก้านยาวจะกรองได้เร็วกว่า
กรวยก้านสั้น ขนาดของกรวยกรองจะใหญ่หรื่อแล็กขึ้นอยู่กับความยาวของเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง( วัดขอบนอก)
กระจกนาฬิกา (Watch Grass) TOP
กระจกนาฬิกามีรูปคล้ายนาฬิกาเรือนกลม มีหลายขนาดขึ้นอยู่กับความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลาง
กระจกนาฬิการใช้สำหรับปิดบีกเกอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อป้องกันสารอื่น ๆ หรือฝุ่นละอองตกลง
ในสารละลายที่บรรจุอยู่ในบีเกอรและใช้ป้องกันสารละลายกระเด็นออกจากบีกเกอร์เมื่อทำการต้ม
หรือระเหยสารละลาย
หลอดหยด (Dropper) TOP
หลอดหยดมีลักษณะเป็นหลอดแก้วที่ปลายข้างหนึ่งยาวเรียวเล็ก และปลายอีกข้างหนึ่งมี
กระเปาะยางสวมอยู่ หลอดหยดใช้สำหรับดูดรีเอเจนต์จากขวดไปหยดลงในหลอทดสอบ
ที่มีสารอื่นบรรจุอยู่ เพื่อใช้ในการดปฎิกิริยาเคมีของรีเอเจนต์นั้น ๆ
ข้อควรระวังในการใช้หลอดหยดก็คือ : อย่าให้ปลายของหลอดหยด กระทบหรือแตะกับ
ปลายหลอดทดลอง
ไม้แก้ว(Grass rod) TOP
ไม้แก้วใช้สำหรับคนสารละลายให้ผสมเป็นเนื้อเดียวกันอย่างสม่ำเสมอ หรือใช้เมื่อจะเทสารละลายจากภาชนะหนึ่ง
ลงในภาชนะอีกชนิดหนึ่ง โดยจะเทสารละลายให้ไหลไปตามไม้แก้ว ไม้แก้วที่มียางสวมอยู่อีกปลายด้านหนึ่ง เรียก
ว่า Policeman จะใช้สำหรับปัดตะกอนที่เกาะอยู่ข้าง ๆ และถูภาชนะให้ปราศจากสารต่าง ๆ ที่เกาะอยู่ข้าง ๆ
ยางสวมนั้นต้องแน่น
บิวเรท (Burette) TOP
บิวเรทเป็นอุปกรณ์วัดปริมาตรต่าง ๆ และมีก๊อกสำหรับเปิด - ปิด เพื่อบังคับการไหลของของเหลว บิวเรทเป็นอุปกรณ์

ที่ใช้ในการวิเคราะห์ มีขนาดตั้งแต่ 10 มล. จนถึง 100 มล. บิวเรทสามารถวัดปริมาตรได้อย่างใกล้เคียงความจริงมากที่สุด
แต่ก็ยังมีความผิดพลาดอยู่เล็กน้อย ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของบิวเรท เช่น
บิวเรทขนาด 10 มล. มีความผิดพลาด 0.4%
บิวเรทขนาด 25 มล. มีความผิดพลาด 0.24%
บิวเรทขนาด 50 มล. มีความผิดพลาด 0.2%่
บิวเรทขนาด 100 มล. มีความผิดพลาด 0.2%่
ไพเพท (Pipette) TOP
ไพเพทเป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดปริมาตรได้อย่างใกล้เคียงมีอยู่หลายชนิดแต่โดยทั่วไป
ที่ใช้ในห้องปฎิบัติการมีอยู่ 2 แบบ คือ Volmetric pipette หรือ Trans
Pipette และ Measuring pipette Trans pipette ซึ่งใช้ในการวัดปริมาตร
ได้เพียงค่าเดียว คือ ถ้าหาก Trans pipette จุ 25 มล. ก็จะวัดปริมาตรของเหลว
ได้ 25 มล. เท่านั้น Trans pipette มีหลายขนาดตั้งแต่ 1 มล. จนถึง 100 มล. ถึง
แม้ไพเพทชนิดนี้จะใช้วัดปริมาตรได้อย่างใกล้เคียงความจริงก็ตาม แต่ก็ยังมีข้อผิด
พลาด ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของ ไพเพท เช่น
Tran pipette ขนาด 10 มล. มีความผิดพลาด 0.2 %
Tran pipette ขนาด 30 มล. มีความผิดพลาด 0.1 %
Tran pipette ขนาด 50 มล. มีความผิดพลาด 0.1 %



........Tran pipette ใช้สำหรับส่งผ่านสารละลาย ที่มีตามปริมาตรตามขนาดของ

ไพเพท เมื่อปล่อยสารละลายออกจากไพเพทแล้ว ห้ามเป่าสารละลายที่ตกค้างอยู่ที่
ปลายของไพเพท แต่ควรแต่ปลาย ไพเพทกับข้างภาชนะเหนือระดับสารละลายภาย
ในภาชนะ นั้นประมาณ 30 วินาที เพื่อให้สารละลายที่อยู่ข้างใน ไพเพทไหลออกมา
อีก ไพเพทชนิดนี้ใช้ได้ง่ายและเร็วกว่าบิวเรท

Measuring pipette หรือ Graduated pipette( บ้างทีเรียกว่า Mohr
pipette) จะมีขีดบอกปริมาตรต่าง ๆ ไว้ทำให้สามารถใช้ได้อย่างกว้าขวาง คือ
สามารถใช้แทน Tran pipette ได้แต่ใช้วัดปริมาตรได้แน่นอนน้อยกว่า Tran
pipette และมีความผิดพลาดมากกว่า เช่น

Measuring pipette ขนาด 10 มล. มีความผิดพลาด 0.3%

Measuring pipette ขนาด 30 มล. มีความผิดพลาด 0.3%
ชามละเหย (Evaporating dish) TOP
ชามระเหยมีขนาดต่างๆ กับขึ้นอยู่กับความจุหรือความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลาง ชามระเหยส่วนมากเคลือบทั้งด้านในและด้านนอก แต่บางทีเคลือบเฉพาะด้านใน ด้านเดียวเพื่อทำให้ราคาถูกลง ชามระเหยส่วนมากใช้สำหรับระเหยของเหลวจนแห้ง และเผา ณ อุณภูมิที่สูงกว่า 100 องศาเซลเซียส
Triangle TOP
Triangle มีทั้งที่ทำจากหลอดดินเหนียวสวมคลุมลวดเหล็ก ที่เรียกว่า pipestem clay triangle และที่ทำจากลวด nichrome หรือ chromel สวม คลุมด้วย silliminite หรือ fused silica Triangle ที่ใช้กันมากและมีราคา ถูกก็คือ Triangle ที่ทำจากหลอดดินเหนียว แต่ Triangle ที่ทำจากลวดจะ มีความทนทานกว่าและมีราคาที่แพงกว่า ส่วนมาก Triangle ใช้สำหรับ ตังเบ้าเคลือบเมื่อเผาด้วยเปลวไฟจากตะเกียงบุนเซ็น
Test tube holder TOP
Test Tube Holder ทำจากวัตถุหลายชนิดเช่นไม้หรือลวดเหล็ก ใช้สำหรับจับหลอดทดสอบ เนื่องจากเมื่อใช้หลอดทดสอบที่ บรรจุของเหลวต้ม ไอระเหยที่เกิดจากการต้มของเหลวภายใน หลอดจะทำให้มือที่จับร้อน ฉะนั้นจึงควรใช้ Test Tube Holder ในการจับหลอดทดสอบ แต่อย่าใช้ Test Tube Holder จับบีกเกอร์ หรือขวดปริมาตรเพราะจะทำให้ลื่นตกแตกได้ และอย่าใช้คีบหรือ จับเบ้าเคลือบและฝา เพราะเบ้าเคลือบต้องใช้จับด้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ค้นหา