ละลายเดิมได้ขวดปริมาตรมีหลายขนาด และมีความจุต่างๆ กัน เช่น ขนาด 50 มล. 100 มล. 250 มล. 500 มล. 1,000 มล. และ 2,000 มล. เป็นต้น แบ่งตามรูปร่าง และ ลักษณะการใช้ ได้ ดังต่อไปนี้
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การเตรียมสารละลายโดยใช้ขวดปริมาตรมีเทคนิคการทำดังนี้ ละลายไหลไปทางเดียวกันเพื่อให้สารในขวดละลายจนหมด(ในกรณีที่สารเป็นของแข็ง) หรือให้สารผสมเป็นเนื้อเดียวกัน (ใน กรณีที่สารเป็นขอเหลว)ควรจับที่คอขวดปริมาตรอย่าจับที่ตัวขวดปริมาตรเพราะจะ ทำให้สารละลายอุ่นขึ้นเนื่องจากความร้อน ในมือ ต้องให้ระดับสายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับขีดบอกปริมาตร เพื่อป้องกันการอ่านปริมาตราผิด เนื้อสารเท่าเทียมกันทุกส่วน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
บีกเกอร์ (Beaker) TOP | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปริมาณของของ เหลวที่บรรจุอยู่ได้อย่างคราว ๆ และบีกเกอร์มีความจุตั้งแต่ 5 มิลลิเมตร จนถึงหลาย ๆ ลิตรอีกทั้งเป็นแบบสูง แบบตี้ย และแบบรูปทรงกรวย(conical berker) บีกเกอร์จะมีปากงอเหมือนปากนกซึ่งเรียกว่า spout ทำให้การเทของเหลว ออกได้โดยสะดวก Spout ทำให้สะดวกในการวางไม้แก้วซึ่งยื่นออกมาจากฝาที่ปิดบีกเกอร์และ spout ยังเป็นทางออกของ ไอน้ำ หรือแก๊สเมื่อทำการละเหยของเหลวในบีเกอร์ที่ปิดด้วยกระจกนาฬิกา(watch grass) ปากบีกเกอร์ประมาณ 1 - 1 1/2 นิ้ว |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประโยชน์ของบีกเกอร์ 1.ใช้สำหรับต้มสารละลายที่มีปริมาณมาก ๆ 2. ใช้สำหรับเตรียมสารละลายต่าง ๆ 3. ใช้สำหรับตกตะกอนและใช้ระเหยของ เหลวที่มีฤทธิ์กรดน้อย หมายเหตุ : ห้ามใช้บีกเกอร์ทุกขนาดทดลอง ปฏิกิริยาระหว่างสารโดยเด็ดขาด |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หลอดทดลอง (Test tube) TOP | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2 แบบ คือความยาวกับเส้นผ่านศูนย์กลางริมนอกหรือขนากความจุเป็นปริมาตร ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
น้อย ๆ โดยมี test tube holder จับกันร้อนมือ อุณหภูมิที่สูง หลอดชนิดนี ้ไม่ควรนำไปใช้สำหรับทดลองปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารเหมือนหลอดธรรมดา |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กระบอกตวง (Graduated Cylinder) TOP | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ของของเหลวที่มีอุณหภูมิไม่สูงกว่าอุณหภูมิของห้องปกิบัติการ กระบอกตวงไม่สามารถใช้วัดของเหลว ที่มีอุณหภูมิสูงได้ เนื่องจากอาจทำให้กระบอกตวงแตกได้ กระบอกตวงจะบอกปริมาตรของเเหลวอย่าง คราว ๆ ถ้าต้องการวัดปริมาตรที่แน่นอนต้องใช้อุปกรณ์วัดปริมาตรอื่นๆ เช่น ไพเพท หรือบิวเรท โดย ปกติความผิดพลาดของกระบอกตวงเมื่อมีปริมาตรสูงสุดจะมีประมาณ 1 เปอร์เซนต์ กระบอกตวง ขนาดเล็กใช้วัดปริมาตรได้ใกล้เคียงความจริงมากกว่ากระบอกตวงขนาดใหญ่ ท้องน้ำอยู่ในระดับสายตาและอ่านค่าปริมาตร ณ จุดต่ำสุดของท้องน้ำ |
Clock
วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554
อุปกรณ์เครื่องแก้วในห้อง Lab ชุดที่ 1
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น