Clock


วันพฤหัสบดีที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2560

แอพพลิเคชั่นคัดกรองความดันโลหิตสูง

แอพพลิเคชั่นคัดกรองความดันโลหิตสูง


แอพพลิเคชั่นนี้ใช้กับระบบปฏิบัติแอนดรอยด์(Android) version 4.0 (IceCreamSanwich) ขึ้นไป


วิธีติดตั้งไปที่ Play Store 

แล้วพิมพ์ "คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง"


แล้วติดตั้ง


เปิด แอพพลิเคชั่น

รายละเอียดแอพพลิเคชั่น














แอพพลิเคชั่นคัดกรองโรคเบาหวาน

แอพพลิเคชั่นคัดกรองโรคเบาหวาน





ดาวน์โหลดได้ใน Play Store  ระบบปฏิบัติแอนดรอยด์(Android)version 4.0 (IceCreamSanwich) ขึ้นไป


โดย

ไปที่ Play Store แล้วพิมพ์ "คัดกรองโรคเบาหวาน" 



แล้วกดติดตั้ง






แล้วทำการเปิดก็ได้ แอพพลิเคชั่นสำหรับผู้ป่วยเบาหวานในการแปลผลค่าน้ำตาล และน้ำตาลสะสม (HbA1c)

รวมถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวาน การเตรียมตัวก่อนเจาะเลือด และการสาธิตการเจาะเลือดปลายนิ้ว


รายละเอียดแอพลิเคชั่น















วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ไข้ซิกา (Zika Fever)

ไข้ซิกา (Zika Fever)
โรคไข้ซิกา (Zika fever) เกิดจาการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus-ZIKV) ไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิด
อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว อยู่ในตระกูลเฟลวิไวรัส (flavivirus) มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี,
ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลาย ( เช่น Ae. Africanus, Ae. Apicoargenteus,
Ae. Luteocephalus, Ae. Aegypti เป็นต้น) เป็นพาหะนำโรค ไวรัสซิกาถูกแยกเชื้อครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๐
(ค.ศ. ๑๙๔๗) จากน้ำเหลืองของลิง rhesus ที่ใช้ในการศึกษาไข้เหลืองในป่ าชื่อซิกา ประเทศยูกันดา และแยกเชื้อ
ได้จากคนในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ (ค.ศ. ๑๙๖๘) ณ ประเทศไนจีเรีย
มีระยะฟักตัว ๔-๗ วัน จากนั้นจะมีอาการ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง มีผื่นแบบ maculopapular ที่บริเวณลำตัว แขนขา,
วิงเวียน , เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ปวดข้อ อาจจะมีอาการต่อมน้ำเหลืองโต และอุจจาระร่วง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๕๓๕ มีข้อบ่งชี้ทางน้ำเหลืองวิทยาว่ามีการติดเชื้อไวรัสซิกา ในประเทศกลุ่มแอฟริกา
ได้แก่ ยูกันดา, แทนซาเนีย, อียิปต์, อัฟริกากลาง สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน และกาบอง ในส่วนของเอเชียมีรายงานพบใน
ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ไทย, เวียดนามและอินโดนีเซีย ล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ได้รายงานการ
ระบาดของไข้ซิกา ในหมู่เกาะแยป
ในประเทศไทย มีผู้รายงานว่าตรวจพบแอนติบอดีชนิดทำลายล้างไวรัสซิกา ในผู้ที่อาศัยในประเทศไทยเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๐๖ (ค.ศ. ๑๙๖๓) และล่าสุด มีรายงาน ผู้ป่ วยหญิงนักท่องเที่ยวจากแคนาดา ซึ่งเดินทางมาประเทศไทยในช่วงเวลา
๒๑ มกราคม-๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ และมีอาการภายหลังจากเดินทางกลับถึงประเทศแคนาดาเป็นเวลา ๔ วัน โดยเริ่มป่วย
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหลัง และปวด
ข้อ ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) ซึ่งขณะนี้กรมควบคุมโรค ยังเฝ้ าระวังโรคนี้อยู่
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการติดเชื้อ ทำได้ ๒ วิธี ดังนี้ ๑)การตรวจหาสารพันธุกรรม ด้วยวิธี
พีซีอาร์ เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองเร็วที่สุดหลังจากที่ เริ่มมีอาการเจ็บป่ วย ซึ่งไม่ควรเกิน ๙ วันหลังมีอาการ และ ๒) การตรวจหา
แอนติบอดี ชนิดเอ็มที่จำเพาะต่อไวรัสซิกาด้วยวิธีอิไลซ่า ซึ่งเป็นพัฒนาวิธีโดย ศูนย์ควบคุมและป้ องกันโรคสหรัฐอเมริกา
โดยเก็บตัวอย่าง ๒ ครั้ง ครั้งแรกในวันที่เริ่มมีอาการ และตัวอย่างที่สองห่างจากตัวอย่างแรก 2-3 สัปดาห์ ซึ่งสถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสุข โดยฝ่ายอาโบไวรัส มีแผนการที่จะติดตั้งวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติ โรคไข้ซิกาในเร็วๆนี้
ปัจจุบัน ยังไม่มีวัคซีนป้ องกันเฉพาะ การรักษาจะรักษาตามอาการเพื่อบรรเทาการเจ็บป่ วย

ที่มา
ฝ่ายอาโบไวรัส
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ไวรัสซิกา (Zika virus)

ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง


ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf

โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  •  
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
    ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




    การติดต่อ

    ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

    อาการแสดง

    โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

    การวินิจฉัย

    ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

     

    การรักษา

    ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

     

    การป้องกัน

    ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

     

    สถานการณ์โรค

    ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
    เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
    เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



    โดยสรุป

    • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
    • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
    • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
    • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
    • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
    • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
    • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
    • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
    - See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.8YDdWKFS.dpuf
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
    ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




    การติดต่อ

    ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

    อาการแสดง

    โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

    การวินิจฉัย

    ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

     

    การรักษา

    ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

     

    การป้องกัน

    ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

     

    สถานการณ์โรค

    ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
    เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
    เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



    โดยสรุป

    • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
    • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
    • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
    • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
    • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
    • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
    • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
    • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
    - See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.8YDdWKFS.dpuf
    ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
    ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




    การติดต่อ

    ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

    อาการแสดง

    โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

    การวินิจฉัย

    ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

     

    การรักษา

    ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

     

    การป้องกัน

    ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

     

    สถานการณ์โรค

    ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
    เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
    เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



    โดยสรุป

    • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
    • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
    • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
    • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
    • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
    • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
    • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
    • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
    - See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpufไข้ซิกา (Zika Fever)ไข้ซิกา (Zika Fever)
โรคไข้ซิกา (Zika fever) เกิดจาการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus-ZIKV) ไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิด
อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว อยู่ในตระกูลเฟลวิไวรัส (flavivirus) มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี,
ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลาย ( เช่น Ae. Africanus, Ae. Apicoargenteus,
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน



การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.7lgZtkBR.dpuf
Ae. Luteocephalus, Ae. Aegypti เป็นต้น) เป็นพาหะนำโรค ไวรัสซิกาถูกแยกเชื้อครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๐
(ค.ศ. ๑๙๔๗) จากน้ำเหลืองของลิง rhesus ที่ใช้ในการศึกษาไข้เหลืองในป่ าชื่อซิกา ประเทศยูกันดา และแยกเชื้อ
ได้จากคนในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ (ค.ศ. ๑๙๖๘) ณ ประเทศไนจีเรีย
มีระยะฟักตัว ๔-๗ วัน จากนั้นจะมีอาการ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง มีผื่นแบบ maculopapular ที่บริเวณลำตัว แขนขา,
วิงเวียน , เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ปวดข้อ อาจจะมีอาการต่อมน้ำเหลืองโต และอุจจาระร่วง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๕๓๕ มีข้อบ่งชี้ทางน้ำเหลืองวิทยาว่ามีการติดเชื้อไวรัสซิกา ในประเทศกลุ่มแอฟริกา
ได้แก่ ยูกันดา, แทนซาเนีย, อียิปต์, อัฟริกากลาง สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน และกาบอง ในส่วนของเอเชียมีรายงานพบใน
ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ไทย, เวียดนามและอินโดนีเซีย ล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ได้รายงานการ
ระบาดของไข้ซิกา ในหมู่เกาะแยป
ในประเทศไทย มีผู้รายงานว่าตรวจพบแอนติบอดีชนิดทำลายล้างไวรัสซิกา ในผู้ที่อาศัยในประเทศไทยเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๐๖ (ค.ศ. ๑๙๖๓) และล่าสุด มีรายงาน ผู้ป่ วยหญิงนักท่องเที่ยวจากแคนาดา ซึ่งเดินทางมาประเทศไทยในช่วงเวลา
๒๑ มกราคม-๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ และมีอาการภายหลังจากเดินทางกลับถึงประเทศแคนาดาเป็นเวลา ๔ วัน โดยเริ่มป่วย
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหลัง และปวด
ข้อ ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) ซึ่งขณะนี้กรมควบคุมโรค ยังเฝ้ าระวังโรคนี้อยู่
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการติดเชื้อ ทำได้ ๒ วิธี ดังนี้ ๑)การตรวจหาสารพันธุกรรม ด้วยวิธี
พีซีอาร์ เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองเร็วที่สุดหลังจากที่ เริ่มมีอาการเจ็บป่ วย ซึ่งไม่ควรเกิน ๙ วันหลังมีอาการ และ ๒) การตรวจหา
แอนติบอดี ชนิดเอ็มที่จำเพาะต่อไวรัสซิกาด้วยวิธีอิไลซ่า ซึ่งเป็นพัฒนาวิธีโดย ศูนย์ควบคุมและป้ องกันโรคสหรัฐอเมริกา
โดยเก็บตัวอย่าง ๒ ครั้ง ครั้งแรกในวันที่เริ่มมีอาการ และตัวอย่างที่สองห่างจากตัวอย่างแรก 2-3 สัปดาห์ ซึ่งสถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสุข โดยฝ่ายอาโบไวรัส มีแผนการที่จะติดตั้งวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติ โรคไข้ซิกาในเร็วๆนี้
ปัจจุบัน ยังไม่มีวัคซีนป้ องกันเฉพาะ การรักษาจะรักษาตามอาการเพื่อบรรเทาการเจ็บป่ วย
ฝ่ายอาโบไวรัส
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรคไข้ซิกา (Zika fever) เกิดจาการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus-ZIKV) ไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิด
อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว อยู่ในตระกูลเฟลวิไวรัส (flavivirus) มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี,
ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลาย ( เช่น Ae. Africanus, Ae. Apicoargenteus,
Ae. Luteocephalus, Ae. Aegypti เป็นต้น) เป็นพาหะนำโรค ไวรัสซิกาถูกแยกเชื้อครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๐
(ค.ศ. ๑๙๔๗) จากน้ำเหลืองของลิง rhesus ที่ใช้ในการศึกษาไข้เหลืองในป่ าชื่อซิกา ประเทศยูกันดา และแยกเชื้อ
ได้จากคนในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ (ค.ศ. ๑๙๖๘) ณ ประเทศไนจีเรีย
มีระยะฟักตัว ๔-๗ วัน จากนั้นจะมีอาการ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง มีผื่นแบบ maculopapular ที่บริเวณลำตัว แขนขา,
วิงเวียน , เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ปวดข้อ อาจจะมีอาการต่อมน้ำเหลืองโต และอุจจาระร่วง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๕๓๕ มีข้อบ่งชี้ทางน้ำเหลืองวิทยาว่ามีการติดเชื้อไวรัสซิกา ในประเทศกลุ่มแอฟริกา
ได้แก่ ยูกันดา, แทนซาเนีย, อียิปต์, อัฟริกากลาง สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน และกาบอง ในส่วนของเอเชียมีรายงานพบใน
ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ไทย, เวียดนามและอินโดนีเซีย ล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ได้รายงานการ
ระบาดของไข้ซิกา ในหมู่เกาะแยป
ในประเทศไทย มีผู้รายงานว่าตรวจพบแอนติบอดีชนิดทำลายล้างไวรัสซิกา ในผู้ที่อาศัยในประเทศไทยเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๐๖ (ค.ศ. ๑๙๖๓) และล่าสุด มีรายงาน ผู้ป่ วยหญิงนักท่องเที่ยวจากแคนาดา ซึ่งเดินทางมาประเทศไทยในช่วงเวลา
๒๑ มกราคม-๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ และมีอาการภายหลังจากเดินทางกลับถึงประเทศแคนาดาเป็นเวลา ๔ วัน โดยเริ่มป่วย
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหลัง และปวด
ข้อ ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) ซึ่งขณะนี้กรมควบคุมโรค ยังเฝ้ าระวังโรคนี้อยู่
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการติดเชื้อ ทำได้ ๒ วิธี ดังนี้ ๑)การตรวจหาสารพันธุกรรม ด้วยวิธี
พีซีอาร์ เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองเร็วที่สุดหลังจากที่ เริ่มมีอาการเจ็บป่ วย ซึ่งไม่ควรเกิน ๙ วันหลังมีอาการ และ ๒) การตรวจหา
แอนติบอดี ชนิดเอ็มที่จำเพาะต่อไวรัสซิกาด้วยวิธีอิไลซ่า ซึ่งเป็นพัฒนาวิธีโดย ศูนย์ควบคุมและป้ องกันโรคสหรัฐอเมริกา
โดยเก็บตัวอย่าง ๒ ครั้ง ครั้งแรกในวันที่เริ่มมีอาการ และตัวอย่างที่สองห่างจากตัวอย่างแรก 2-3 สัปดาห์ ซึ่งสถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสุข โดยฝ่ายอาโบไวรัส มีแผนการที่จะติดตั้งวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติ โรคไข้ซิกาในเร็วๆนี้
ปัจจุบัน ยังไม่มีวัคซีนป้ องกันเฉพาะ การรักษาจะรักษาตามอาการเพื่อบรรเทาการเจ็บป่ วย
ฝ่ายอาโบไวรัส
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ไวรัสซิกา (Zika virus)

ค้นหา