Clock


วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ไข้ซิกา (Zika Fever)

ไข้ซิกา (Zika Fever)
โรคไข้ซิกา (Zika fever) เกิดจาการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus-ZIKV) ไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิด
อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว อยู่ในตระกูลเฟลวิไวรัส (flavivirus) มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี,
ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลาย ( เช่น Ae. Africanus, Ae. Apicoargenteus,
Ae. Luteocephalus, Ae. Aegypti เป็นต้น) เป็นพาหะนำโรค ไวรัสซิกาถูกแยกเชื้อครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๐
(ค.ศ. ๑๙๔๗) จากน้ำเหลืองของลิง rhesus ที่ใช้ในการศึกษาไข้เหลืองในป่ าชื่อซิกา ประเทศยูกันดา และแยกเชื้อ
ได้จากคนในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ (ค.ศ. ๑๙๖๘) ณ ประเทศไนจีเรีย
มีระยะฟักตัว ๔-๗ วัน จากนั้นจะมีอาการ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง มีผื่นแบบ maculopapular ที่บริเวณลำตัว แขนขา,
วิงเวียน , เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ปวดข้อ อาจจะมีอาการต่อมน้ำเหลืองโต และอุจจาระร่วง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๕๓๕ มีข้อบ่งชี้ทางน้ำเหลืองวิทยาว่ามีการติดเชื้อไวรัสซิกา ในประเทศกลุ่มแอฟริกา
ได้แก่ ยูกันดา, แทนซาเนีย, อียิปต์, อัฟริกากลาง สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน และกาบอง ในส่วนของเอเชียมีรายงานพบใน
ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ไทย, เวียดนามและอินโดนีเซีย ล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ได้รายงานการ
ระบาดของไข้ซิกา ในหมู่เกาะแยป
ในประเทศไทย มีผู้รายงานว่าตรวจพบแอนติบอดีชนิดทำลายล้างไวรัสซิกา ในผู้ที่อาศัยในประเทศไทยเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๐๖ (ค.ศ. ๑๙๖๓) และล่าสุด มีรายงาน ผู้ป่ วยหญิงนักท่องเที่ยวจากแคนาดา ซึ่งเดินทางมาประเทศไทยในช่วงเวลา
๒๑ มกราคม-๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ และมีอาการภายหลังจากเดินทางกลับถึงประเทศแคนาดาเป็นเวลา ๔ วัน โดยเริ่มป่วย
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหลัง และปวด
ข้อ ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) ซึ่งขณะนี้กรมควบคุมโรค ยังเฝ้ าระวังโรคนี้อยู่
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการติดเชื้อ ทำได้ ๒ วิธี ดังนี้ ๑)การตรวจหาสารพันธุกรรม ด้วยวิธี
พีซีอาร์ เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองเร็วที่สุดหลังจากที่ เริ่มมีอาการเจ็บป่ วย ซึ่งไม่ควรเกิน ๙ วันหลังมีอาการ และ ๒) การตรวจหา
แอนติบอดี ชนิดเอ็มที่จำเพาะต่อไวรัสซิกาด้วยวิธีอิไลซ่า ซึ่งเป็นพัฒนาวิธีโดย ศูนย์ควบคุมและป้ องกันโรคสหรัฐอเมริกา
โดยเก็บตัวอย่าง ๒ ครั้ง ครั้งแรกในวันที่เริ่มมีอาการ และตัวอย่างที่สองห่างจากตัวอย่างแรก 2-3 สัปดาห์ ซึ่งสถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสุข โดยฝ่ายอาโบไวรัส มีแผนการที่จะติดตั้งวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติ โรคไข้ซิกาในเร็วๆนี้
ปัจจุบัน ยังไม่มีวัคซีนป้ องกันเฉพาะ การรักษาจะรักษาตามอาการเพื่อบรรเทาการเจ็บป่ วย

ที่มา
ฝ่ายอาโบไวรัส
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ไวรัสซิกา (Zika virus)

ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง


ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf

โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  •  
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
    ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




    การติดต่อ

    ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

    อาการแสดง

    โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

    การวินิจฉัย

    ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

     

    การรักษา

    ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

     

    การป้องกัน

    ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

     

    สถานการณ์โรค

    ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
    เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
    เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



    โดยสรุป

    • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
    • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
    • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
    • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
    • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
    • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
    • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
    • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
    - See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.8YDdWKFS.dpuf
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
    ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




    การติดต่อ

    ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

    อาการแสดง

    โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

    การวินิจฉัย

    ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

     

    การรักษา

    ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

     

    การป้องกัน

    ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

     

    สถานการณ์โรค

    ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
    เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
    เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



    โดยสรุป

    • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
    • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
    • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
    • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
    • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
    • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
    • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
    • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
    - See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.8YDdWKFS.dpuf
    ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
    ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน




    การติดต่อ

    ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

    อาการแสดง

    โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

    การวินิจฉัย

    ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

     

    การรักษา

    ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

     

    การป้องกัน

    ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

     

    สถานการณ์โรค

    ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
    เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
    เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



    โดยสรุป

    • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
    • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
    • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
    • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
    • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
    • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
    • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
    • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
    • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
    - See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpuf
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.FKS1Ft6b.dpufไข้ซิกา (Zika Fever)ไข้ซิกา (Zika Fever)
โรคไข้ซิกา (Zika fever) เกิดจาการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus-ZIKV) ไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิด
อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว อยู่ในตระกูลเฟลวิไวรัส (flavivirus) มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี,
ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลาย ( เช่น Ae. Africanus, Ae. Apicoargenteus,
ไวรัสซิก้านั้นเป็นไวรัสซึ่งอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จำพวกเดียวกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซิก้าไวรัสสามารถติดต่อได้จากยุงกัด
ผู้ป่วยจากไวรัสซิก้านั้นจะมีไข้ อาจจะมีผื่น ปวดตามข้อ และตาแดง โดยปกติแล้วอาการโดยรวมจะไม่รุนแรงมากและหายได้เองภายในไม่กี่วัน ผู้ป่วยอาการหนักพบได้น้อยและอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล มีรายงานการติดเชื้อไวรัสซิก้าที่ประเทศบราซิลเมื่อกลางปี 2558 การระบาดในประเทศบราซิลนั้นเชื่อว่าทำให้เกิดความผิดปกติของบุตรที่เกิดจากหญิงที่ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลยืนยันทางแพทย์ยังไม่ชัดเจน



การติดต่อ

ยุงลาย เป็นพาหะสำคัญของไวรัสซิก้า ซึ่งเป็นพาหะนำโรคชนิดเดียวกับไวรัสไข้เลือดออกเดงกี่และไข้เลือดออกชิคุนกุนย่า ยุงลายชอบวางไข่ในน้ำนิ่ง สะอาด เช่น แหล่งน้ำในครัวเรือน มีรายงานพบว่าหญิงที่ใกล้จะคลอดบุตร สามารถถ่ายทอดเชื้อสู่บุตรได้ และมีรายงานว่าเชื้อไวรัสสามารถผ่านทางน้ำนมได้ อย่างไรก็ตาม กลไกในการถ่ายทอดผ่านการตั้งครรภ์และน้ำนมนั้นยังไม่ชัดเจน และพบได้น้อยมาก

อาการแสดง

โดยทั่วไปพบว่าราว 1 ใน 5 ของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสซิก้านั้นจะป่วยและแสดงอาหาร ระยะฟักตัวของโรคยังไม่แน่ใจ แต่น่าจะอยู่ในช่วงเดียวกับไข้หวัดใหญ่ คือ สองสามวันไปจนถึงเป็นสัปดาห์ อาการแสดงคล้ายไข้หวัดใหญ่ โดยจะมีไข้ มีผื่นขึ้น ปวดตามข้อ และตาแดง บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล อัตราตายพบน้อย

การวินิจฉัย

ขณะนี้ยังไม่มีเครื่องมือวินิจฉัยที่ทำได้ในสถานพยาบาลทั่วไป แพทย์อาจซักประวัติว่าผู้ป่วยเดินทางไปยังประเทศที่เสี่ยงมาหรือไม่ อาการของโรคโดยรวมนั้นคล้ายกับไข้หวัดใหญ่หรือไข้เลือดออก ดังนั้นในประเทศไทย แพทย์จะต้องวินิจฉัยแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกด้วย

 

การรักษา

ส่วนใหญ่เป็นการดูแลตามอาการเป็นหลัก ยาต้านไวรัสหรือวัคซีนยังไม่มีในขณะนี้ เนื่องจากในประเทศนั้นตัวโรคมีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออกและไข้หวัดใหญ่ จึงมีข้อควรระวังเนื่องจากอาจจะแยกโรคได้ยากในช่วงต้น คือการงดใช้ยาแก้ปวดและลดไข้กลุ่ม NSAIDs เนื่องจากรบกวนการทำงานของเกร็ดเลือดและเสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย

 

การป้องกัน

ทำได้โดยป้องกันยุงกัดเป็นหลัก หลักการป้องกันและควบคุมโรคในไทยสามารถใช้หลักการเดียวกับการป้องกันไข้เลือดออก โดยธรรมชาติของยุงลายนั้นจะชอบกัดในเวลากลางวัน การสวมเสื้อผ้ามิดชิด อยู่ในมุ้งหรือใช้มุ้งลวด สามารถลดความเสี่ยงของการโดนยุงกัดได้ สิ่งสำคัญคือการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งมักเป็นภาชนะที่มีน้ำขังในครัวเรือน เช่น ถ้วยชามที่มีน้ำขัง แม้แต่เศษขยะก็มีน้ำขังได้

 

สถานการณ์โรค

ขณะนี้ยังไม่พบรายงานของการติดเชื้อไวรัสซิก้าในไทยหรือประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศที่พบผู้ป่วยนั้น อยู่ในทวีปอเมริกา ตั้งแต่เม็กซิโกลงไปถึงกลุ่มประเทศอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบการติดเชื้อในเกาะประปรายในมหาสมุทรแอตแลนติค หากเดินทางไปยังประเทศเหล่านี้ภายใน 30 วัน และเกิดอาการเจ็บป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งประวัติเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
เนื่องจากมีความกังวลถึงความเชื่อมโยงระหว่างการติดเชื้อไวรัสซิก้ากับความผิดปกติของการตั้งครรภ์ จึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หรือมีแนวโน้มจะตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
เนื่องจากไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด ดังนั้น ตัวไวรัสจะไม่สามารถถ่ายทอดได้โดยตรงจากการสัมผัส หรือไอจาม อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทยนั้น บางครั้งอาการเจ็บป่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้ยาก จึงควรมีมาตรการป้องกันเสมอ เมื่อเข้าใกล้ผู้ที่มีกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น การล้างมือ การไอจามต้องปิดปากทุกครั้ง



โดยสรุป

  • ไวรัสซิก้าติดต่อจากยุงลายกัด
  • ยังไม่มีรายงานของผู้ป่วยในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตามควรเฝ้าระวังใกล้ชิด เพราะประเทศไทยมียุงลาย
  • กลุ่มเสี่ยงคือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดและมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
  • อาการของโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดข้อ อาจมีผื่นและตาแดง
  • ระยะฟักตัวไม่แน่ชัด แต่คาดว่าคล้ายไข้หวัดใหญ่คือสองสามวันถึงสัปดาห์
  • อาหารของโรคไม่รุนแรงและหายได้อง ส่วนน้อยจะมีอาการหนักและต้องรักษาในโรงพยาบาล
  • ยังไม่มีการรักษาจำเพาะ ส่วนใหญ่ให้การรักษาตามอาการ
  • ผู้ที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ยังคงต้องแยกโรคจากไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออก
  • ป้องกันยุงลายกัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 
- See more at: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/zika-virus-1#sthash.7lgZtkBR.dpuf
Ae. Luteocephalus, Ae. Aegypti เป็นต้น) เป็นพาหะนำโรค ไวรัสซิกาถูกแยกเชื้อครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๐
(ค.ศ. ๑๙๔๗) จากน้ำเหลืองของลิง rhesus ที่ใช้ในการศึกษาไข้เหลืองในป่ าชื่อซิกา ประเทศยูกันดา และแยกเชื้อ
ได้จากคนในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ (ค.ศ. ๑๙๖๘) ณ ประเทศไนจีเรีย
มีระยะฟักตัว ๔-๗ วัน จากนั้นจะมีอาการ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง มีผื่นแบบ maculopapular ที่บริเวณลำตัว แขนขา,
วิงเวียน , เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ปวดข้อ อาจจะมีอาการต่อมน้ำเหลืองโต และอุจจาระร่วง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๕๓๕ มีข้อบ่งชี้ทางน้ำเหลืองวิทยาว่ามีการติดเชื้อไวรัสซิกา ในประเทศกลุ่มแอฟริกา
ได้แก่ ยูกันดา, แทนซาเนีย, อียิปต์, อัฟริกากลาง สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน และกาบอง ในส่วนของเอเชียมีรายงานพบใน
ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ไทย, เวียดนามและอินโดนีเซีย ล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ได้รายงานการ
ระบาดของไข้ซิกา ในหมู่เกาะแยป
ในประเทศไทย มีผู้รายงานว่าตรวจพบแอนติบอดีชนิดทำลายล้างไวรัสซิกา ในผู้ที่อาศัยในประเทศไทยเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๐๖ (ค.ศ. ๑๙๖๓) และล่าสุด มีรายงาน ผู้ป่ วยหญิงนักท่องเที่ยวจากแคนาดา ซึ่งเดินทางมาประเทศไทยในช่วงเวลา
๒๑ มกราคม-๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ และมีอาการภายหลังจากเดินทางกลับถึงประเทศแคนาดาเป็นเวลา ๔ วัน โดยเริ่มป่วย
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหลัง และปวด
ข้อ ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) ซึ่งขณะนี้กรมควบคุมโรค ยังเฝ้ าระวังโรคนี้อยู่
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการติดเชื้อ ทำได้ ๒ วิธี ดังนี้ ๑)การตรวจหาสารพันธุกรรม ด้วยวิธี
พีซีอาร์ เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองเร็วที่สุดหลังจากที่ เริ่มมีอาการเจ็บป่ วย ซึ่งไม่ควรเกิน ๙ วันหลังมีอาการ และ ๒) การตรวจหา
แอนติบอดี ชนิดเอ็มที่จำเพาะต่อไวรัสซิกาด้วยวิธีอิไลซ่า ซึ่งเป็นพัฒนาวิธีโดย ศูนย์ควบคุมและป้ องกันโรคสหรัฐอเมริกา
โดยเก็บตัวอย่าง ๒ ครั้ง ครั้งแรกในวันที่เริ่มมีอาการ และตัวอย่างที่สองห่างจากตัวอย่างแรก 2-3 สัปดาห์ ซึ่งสถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสุข โดยฝ่ายอาโบไวรัส มีแผนการที่จะติดตั้งวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติ โรคไข้ซิกาในเร็วๆนี้
ปัจจุบัน ยังไม่มีวัคซีนป้ องกันเฉพาะ การรักษาจะรักษาตามอาการเพื่อบรรเทาการเจ็บป่ วย
ฝ่ายอาโบไวรัส
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรคไข้ซิกา (Zika fever) เกิดจาการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus-ZIKV) ไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิด
อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว อยู่ในตระกูลเฟลวิไวรัส (flavivirus) มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี,
ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลาย ( เช่น Ae. Africanus, Ae. Apicoargenteus,
Ae. Luteocephalus, Ae. Aegypti เป็นต้น) เป็นพาหะนำโรค ไวรัสซิกาถูกแยกเชื้อครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๐
(ค.ศ. ๑๙๔๗) จากน้ำเหลืองของลิง rhesus ที่ใช้ในการศึกษาไข้เหลืองในป่ าชื่อซิกา ประเทศยูกันดา และแยกเชื้อ
ได้จากคนในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ (ค.ศ. ๑๙๖๘) ณ ประเทศไนจีเรีย
มีระยะฟักตัว ๔-๗ วัน จากนั้นจะมีอาการ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง มีผื่นแบบ maculopapular ที่บริเวณลำตัว แขนขา,
วิงเวียน , เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ปวดข้อ อาจจะมีอาการต่อมน้ำเหลืองโต และอุจจาระร่วง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง ๒๕๓๕ มีข้อบ่งชี้ทางน้ำเหลืองวิทยาว่ามีการติดเชื้อไวรัสซิกา ในประเทศกลุ่มแอฟริกา
ได้แก่ ยูกันดา, แทนซาเนีย, อียิปต์, อัฟริกากลาง สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน และกาบอง ในส่วนของเอเชียมีรายงานพบใน
ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ไทย, เวียดนามและอินโดนีเซีย ล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ได้รายงานการ
ระบาดของไข้ซิกา ในหมู่เกาะแยป
ในประเทศไทย มีผู้รายงานว่าตรวจพบแอนติบอดีชนิดทำลายล้างไวรัสซิกา ในผู้ที่อาศัยในประเทศไทยเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๐๖ (ค.ศ. ๑๙๖๓) และล่าสุด มีรายงาน ผู้ป่ วยหญิงนักท่องเที่ยวจากแคนาดา ซึ่งเดินทางมาประเทศไทยในช่วงเวลา
๒๑ มกราคม-๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ และมีอาการภายหลังจากเดินทางกลับถึงประเทศแคนาดาเป็นเวลา ๔ วัน โดยเริ่มป่วย
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหลัง และปวด
ข้อ ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) ซึ่งขณะนี้กรมควบคุมโรค ยังเฝ้ าระวังโรคนี้อยู่
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการติดเชื้อ ทำได้ ๒ วิธี ดังนี้ ๑)การตรวจหาสารพันธุกรรม ด้วยวิธี
พีซีอาร์ เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองเร็วที่สุดหลังจากที่ เริ่มมีอาการเจ็บป่ วย ซึ่งไม่ควรเกิน ๙ วันหลังมีอาการ และ ๒) การตรวจหา
แอนติบอดี ชนิดเอ็มที่จำเพาะต่อไวรัสซิกาด้วยวิธีอิไลซ่า ซึ่งเป็นพัฒนาวิธีโดย ศูนย์ควบคุมและป้ องกันโรคสหรัฐอเมริกา
โดยเก็บตัวอย่าง ๒ ครั้ง ครั้งแรกในวันที่เริ่มมีอาการ และตัวอย่างที่สองห่างจากตัวอย่างแรก 2-3 สัปดาห์ ซึ่งสถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสุข โดยฝ่ายอาโบไวรัส มีแผนการที่จะติดตั้งวิธีการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติ โรคไข้ซิกาในเร็วๆนี้
ปัจจุบัน ยังไม่มีวัคซีนป้ องกันเฉพาะ การรักษาจะรักษาตามอาการเพื่อบรรเทาการเจ็บป่ วย
ฝ่ายอาโบไวรัส
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ไวรัสซิกา (Zika virus)

50 ปี สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย

50 ปี สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย
50th Anniversary of The Association of Medical Technologist of Thailand
โดยสมชาย วิริยะยุทธกร
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จ.ปทุมธานี

amtt_logo
วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2500 มีประกาศ กฤษฎีกาจัดตั้ง “คณะเทคนิคการแพทย์” มหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ขึ้น (ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 74 ตอนที่ 60 วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์ วีกูล วีรานุวัตติ์ เป็นคณบดี คณะเทคนิคการแพทย์ คนแรก เป็นการเริ่มต้นของ ประวัติศาสตร์เทคนิคการแพทย์ในประเทศไทย โดย ในระยะแรกได้เปิดสอนหลักสูตรอนุปริญญาเทคนิค การแพทย์ ต่อมาในปีพ.ศ. 2503 ได้ปรับขยาย หลักสูตรเป็นระดับปริญญาตรี โดยรับนักศึกษา อนุปริญญาปีสุดท้ายที่มีคะแนนตลอดหลักสูตร เกิน 70% เข้าศึกษาต่ออีก 1 ปี ได้รับปริญญา- วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) โดยมีบัณฑิต รุ่นแรก 3 คน เมื่อมีผู้สำ เร็จการศึกษาจำนวนหนึ่ง ศาสตราจารย์ นายแพทย์ วีกูล วีรานุวัตติ์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์เชวง เดชะไกศยะ และ แพทย์หญิง เติมศรี ภัทรารมย์ จึงยื่นขอจดทะเบียนใบอนุญาต จัดตั้งสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย เพื่อเป็นองค์กรกำกับดูแลและช่วยเหลือผู้ประกอบ วิชาชีพเทคนิคการแพทย์ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2505
นายอภัย จันทวิมล ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกใบอนุญาตเลขที่ ต.68/2506 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ให้ศาสตราจารย์ นายแพทย์ วีกูล วีรานุวัตติ์ จัดตั้งสมาคมเทคนิคการแพทย์ แห่งประเทศไทย มีที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ ณ คณะเทคนิคการแพทย์ บ้านเลขที่ 2 ตำบลศิริราช อำ เภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์
  1. เพื่อรักษาระดับวิชาเทคนิคการแพทย์ ให้ทัดเทียมเหมือนกับนานาประเทศ
  2. เพื่อผดุงส่งเสริมวิชาเทคนิคการแพทย์ ในประเทศไทย ให้ก้าวหน้าขึ้นไป
  3. เพื่อสมานสามัคคี เกื้อกูลสนับสนุน ซึ่งกันและกันในผู้ที่มีอาชีพร่วมกัน
  4. เพื่อเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นในด้านวิชาการ และเผยแพร่โฆษณา ความรู้ทางเทคนิคการแพทย์ภายในประเทศและ ภายนอกประเทศ
  5. เพื่อร่วมรักษาจรรยาในวิชาชีพให้เป็น ที่ไว้ใจแก่แพทย์ และแก้ให้วิชาเทคนิคการแพทย์ ก้าวหน้า ทั้งนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ได้รับการจดทะเบียนจากกองตำ รวจสันติบาล ใน เลขลำดับ จ.863 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2508 โดยมีวัตถุประสงค์ของสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่ง ประเทศไทยใน 5 ข้อดังกล่าว
นับจากที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุญาต ให้จัดตั้งสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2506 และสมาคมฯ ได้ ดำ เนินงานมาถึงปัจจุบันในปี พ.ศ. 2556 เป็นเวลา 50 ปีแล้ว สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่งมีบทบาทสำคัญหลายประการในการทำ ให้เกิดการ พัฒนาวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อ สังคม ประเทศชาติและนานาประเทศ แต่ข้อมูลหลัก ฐานการดำ เนินงานของสมาคมยังกระจัดกระจายอยู่ กับกรรมการผู้รับผิดชอบในแต่ละช่วงเวลา และคณะ กรรมการบริหารในยุคแรกๆ ก็มีอายุมากแล้ว ข้อมูล บางอย่างอาจมีความคลาดเคลื่อนขาดการยืนยันความ ถูกต้อง และยังไม่มีผู้รวบรวมเป็นกิจจะลักษณะ ในโอกาสครบรอบ 50 ปี สมาคมเทคนิคการแพทย์ แห่งประเทศไทย ผู้เขียนซึ่งเป็นกรรมการสมาคมฯ ในตำ แหน่งต่างๆ และมีส่วนร่วมในการดำ เนิน กิจกรรมที่สำคัญต่างๆ มากกว่า 30 ปี มีข้อมูลเอกสาร ภาพถ่าย จำนวนมากที่น่าจะบันทึกเป็นประวัติของ สมาคมฯ ได้ จึงดำริที่จะรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่ มีอยู่เช่น สรุปรายงานการประชุมสามัญประจำปีของ สมาคมฯ หนังสือบทคัดย่อการประชุมวิชาการ วารสาร เทคนิคการแพทย์ จุลสารเทคนิคการแพทย์ และ หนังสือเอกสารของสมาคมฯ พร้อมด้วยข้อมูลจาก เว็บไซต์ของสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย (www.amtt.org) สภาเทคนิคการแพทย์ (www.mtcouncil.org) และ เมดเทคทูเดย์ (www.medtechtoday.org) รวมทั้งจากการสัมภาษณ์อดีตนายกสมาคมฯ เลขาธิการ อุปนายก และผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญต่าง ๆ อาทิ รองศาสตราจารย์ เดชา ร่มไทรย์ รองศาสตราจารย์เทียนชัย ไชยเศรษฐ อาจารย์ประสิทธิ์ ชนะรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เลอสรวง ชวนิชย์ ศาสตราจารย์ ดร.วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ นายบัณฑิต คูวิจิตรสุวรรณ นายสมชัย เจิดเสริมอนันต์ นางนฤมล สถิโรภาส นางนัยนา วัฒนศรี นางสาวสุภี วงษ์มณีพิรักษ์ นางสุจิตรา มานะกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาลนี อัมรานนท์ และ นายไพบูลย์ รัตนชัยพรพันธ์ เป็นต้น
จุดประสงค์ของการเขียนบทความเพื่อ ต้องการให้ผู้ประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ ได้ทราบประวัติความเป็นมาของสมาคมฯ โดยชี้ให้ เห็นว่ากว่าวิชาชีพเทคนิคการแพทย์จะเจริญมาได้ถึง ทุกวันนี้ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ทุกท่าน ทุกสมัย พร้อมทั้งนักเทคนิคการแพทย์รุ่นพี่ มีความ ตั้งใจเสียสละและทุ่มเททำงานสืบต่อกันมาด้วยความ เหนื่อยยาก และหวังว่าผู้ประกอบวิชาชีพเทคนิค การแพทย์รุ่นหลังจะร่วมกันสืบสานช่วยกันทำ ให้ วิชาชีพเทคนิคการแพทย์ มีความก้าวหน้าและพัฒนา อย่างต่อเนื่องสืบไป โดยมองผลกระทบต่อวิชาชีพ เป็นหลัก ด้วยความสามัคคี เกื้อกูล ช่วยเหลือกัน เพื่อทำ ให้วิชาชีพเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วยและ สังคม โดยผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติงานด้วยความสุข และมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพเทคนิคการแพทย
บทความนี้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนแรกเป็น ข้อมูลหลักของสมาคมฯ และส่วนที่สองเป็นกิจกรรม สำคัญต่างๆ ของสมาคมฯ ที่ได้ดำ เนินการ โดยแบ่ง ตามวัตถุประสงค์ของสมาคมฯ ในธรรมนูญสมาคม เทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2554 ทั้ง 7 ข้อ
ข้อมูลหลักของสมาคมฯ
ข้อบังคับ/ธรรมนูญสมาคมฯ
สมาคมฯมีข้อบังคับกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 และ ในปี พ.ศ. 2515 ได้มีการแก้ไขข้อบังคับ โดยลดจำนวนคณะกรรมการจาก 21 คนเหลือ 15 คน ในปี พ.ศ. 2520 สมาคมฯ ได้ประกาศใช้ข้อบังคับ ที่ยกร่างขึ้นใหม่ และต่อมาในวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ได้มีการแก้ไขข้อบังคับสมาคมฯ โดย เปลี่ยนจากข้อบังคับเป็นธรรมนูญสมาคมฯ และย้าย สถานที่ตั้งสำนักงาน จากคณะเทคนิคการแพทย์ ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราช เลขที่ 2 แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ไปอยู่ ณ เลขที่ 116/11 หมู่ที่ 8 ซอยสังคมสงเคราะห์ แขวง วังทองหลาง เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ได้มีการ ปรับปรุงธรรมนูญสมาคมฯ อีกครั้ง โดยธรรมนูญ สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2546 ได้ใช้ต่อกันมาจนถึงปี พ.ศ. 2554 จึงมีการแก้ไข ปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง โดยมีสาระสำคัญ คือ วาระ การดำ รงตำแหน่งของนายกสมาคมฯ เปลี่ยนจาก วาระละ 2 ปี เป็น นายกสมาคมฯ อยู่ในตำแหน่งได้ คราวละ 3 ปี และไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน โดยประกาศ ใช้ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2554
กรรมการสมาคมฯ
ในระยะเวลา 50 ปี (พ.ศ. 2506-พ.ศ. 2556) มีคณะกรรมการบริหารสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่ง ประเทศไทย จำนวน 24 ชุด นายกสมาคมฯ จำนวน 13 คน เป็น ชาย 12 คน หญิง 1 คน มีรายชื่อและ ปีที่ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฯ ดังนี้
  • ชุดที่ 1 ศาสตราจารย์นายแพทย์วีกูล วีรานุวัตติ์ พ.ศ. 2506-พ.ศ. 2510
  • ชุดที่ 2 ศาสตราจารย์นายแพทย์เชวง เดชะไกศยะ พ.ศ. 2510-พ.ศ. 2513
  • ชุดที่ 3 ร.อ. สามารถ พัวไพโรจน์ รน. พ.ศ. 2513-พ.ศ. 2515
  • ชุดที่ 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพล พลธีระ พ.ศ. 2515-พ.ศ. 2517
  • ชุดที่ 5 นายแสงชัย ไหลวัฒนา พ.ศ. 2517-พ.ศ. 2519
  • ชุดที่ 6 รองศาสตราจารย์เดชา ร่มไทรย์ พ.ศ. 2519-พ.ศ. 2521
  • ชุดที่ 7-8 อาจารย์ดาวลัต สิตังกัง พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2525
  • ชุดที่ 9-10 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เลอสรวง ชวนิชย์ พ.ศ. 2525-พ.ศ. 2529
  • ชุดที่ 11 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เนตร สุวรรณ- คฤหาสน์ พ.ศ. 2529-พ.ศ. 2531
  • ชุดที่ 12-13 ศาสตราจารย์ ดร.เวคิน นพนิตย์ พ.ศ. 2531-พ.ศ. 2535
  • ชุดที่ 14-19 รองศาสตราจารย์สมชาย วิริยะยุทธกร พ.ศ. 2535-พ.ศ. 2547
  • ชุดที่ 20 ศาสตราจารย์ ดร.วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2549
  • ชุดที่ 21-24 รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน
สรุปข้อมูลเกี่ยวกับการดำ รงตำแหน่งนายก สมาคมฯ ในประเด็นต่างๆ ได้ดังนี้
  1. นายกสมาคมฯ คนแรก คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์วีกูล วีรานุวัตติ์ ชุดที่ 1 (พ.ศ. 2506- พ.ศ. 2510)
  2. นายกสมาคมฯ ที่อยู่ในตำแหน่งนาน ที่สุด คือ รองศาสตราจารย์สมชาย วิริยะยุทธกร ดำรงตำแหน่งนายกสมาคม 6 วาระ ในชุดที่ 14-19 เป็นเวลา 12 ปี (พ.ศ. 2535-พ.ศ. 2547)
  3. นายกสมาคมฯ หญิงคนแรก คือ รอง ศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ ชุดที่ 21-24 (พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน)
  4. นายกสมาคมฯ จากสถาบันการศึกษา ที่มากที่สุด คือ จากมหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 4 คน และจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 4 คน
  5. นายกสมาคมฯ ที่มาจากภาคเอกชน คือ นายแสงชัย ไหลวัฒนา ชุดที่ 5 (พ.ศ. 2517-พ.ศ. 2519) และ อาจารย์ดาวลัต สิตังกัง ชุดที่ 7-8 (พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2525)
  6. นายกสมาคมฯ ที่มาจากส่วนภูมิภาค คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เนตร สุวรรณคฤหาสน์ จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ชุดที่ 11 (พ.ศ. 2529-พ.ศ. 2531)
ที่ทำการสมาคมฯ
ในการขออนุญาตจัดตั้งสมาคมเทคนิคการ แพทย์แห่งประเทศไทย ได้กำหนดที่ตั้งสำนักงานแห่ง ใหญ่ ณ คณะเทคนิคการแพทย์ บ้านเลขที่ 2 ตำบล ศิริราช อำ เภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี ต่อมาได้ ย้ายตามสถานที่ทำงานของนายกสมาคมฯ เช่น ภาค วิชาเวชศาสตร์ชันสูตร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จนถึงวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2523 อาจารย์ดาวลัต สิตังกัง นายกสมาคมฯ ในขณะนั้น ได้รวบรวมเงินบริจาคจากสมาชิกซื้อที่ดินและตึกแถว สามชั้นครึ่ง กว้าง 4 เมตร ยาว 12 เมตร พร้อมเนื้อที่ ด้านหลังลึก 20 เมตร อยู่บ้านเลขที่ 116/11 หมู่ที่ 6 แขวงวังทองหลาง เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ราคารวมทั้งสิ้น 540,000 บาท เพื่อเป็นที่ทำการ สมาคมฯ แต่ไม่ได้ย้ายเข้าไปใช้เป็นที่ทำการ เนื่องจาก ไม่สะดวกในการประสานงาน และจำ เป็นต้องมี เจ้าหน้าที่ประจำ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายรายเดือนเป็นภาระของ สมาคมฯ จึงได้ให้บริษัทจำหน่ายเครื่องมือและน้ำยา ทางเทคนิคการแพทย์เช่า เพื่อหารายได้เข้าสมาคมฯ และได้ใช้สถานที่ทำงานของนายกสมาคมฯ เป็นที่ทำการ สมาคมฯ ต่อไป เช่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์เนตร สุวรรณคฤหาสน์ เป็นนายกสมาคมฯ ใช้คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นที่ทำ การ สมาคมฯ ศาสตราจารย์ ดร.เวคิน นพนิตย์ และ รองศาสตราจารย์สมชาย วิริยะยุทธกร เป็นนายก สมาคมฯ ใช้คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เป็นที่ทำการ สมาคมฯ นานถึง 16 ปี จากนั้นเมื่อศาสตราจารย์ ดร.วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล เป็นนายกสมาคมฯ ได้ ย้ายที่ทำการสมาคมฯ ไปที่คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม แล้วย้าย มาที่ อาคารจุฬารัตน์ 1 คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ที่รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ เป็นนายกสมาคมฯ จนถึงปัจจุบัน
ใน ปีพ.ศ. 2552 รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ นายกสมาคมฯ ได้แต่งตั้งให้ นายนิเวศน์ ประยูรเธียร รองศาสตราจารย์สมชาย วิริยะยุทธกร ที่ปรึกษาสมาคมฯ นายสมชัย เจิดเสริม- อนันต์ และนายมณี เตชวิริยะ เป็นคณะกรรมการ จัดหาที่ทำการถาวรของสมาคมฯ และได้ดำ เนินการ สำ รวจอาคารสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับเป็นที่ทำการ ถาวรของสมาคมฯ จนกระทั่งวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 สมาคมฯ ได้ซื้ออาคารสำนักงาน 7 ชั้น เนื้อที่ 56 ตารางวา ตั้งอยู่เลขที่ 6 ซอย 52/1 ถนนรามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร ในวงเงิน 18 ล้านบาท และขณะนี้อยู่ในระหว่าง การปรับปรุงให้เป็นที่ทำการถาวรของสมาคมฯ และ ที่จัดประชุมสัมมนาวิชาการ ในวงเงินประมาณ 10 ล้านบาท ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2557

สมาคมฯ ในพระอุปถัมภ์
รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ นายกสมาคมฯ ได้มีหนังสือสมาคมเทคนิคการแพทย์ แห่งประเทศไทย ที่ สทพท.นย 118/2555 ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ พระบรมมหาราชวัง เพื่อขอให้นำความ กราบทูลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ขอประทานพระกรุณาทรง รับสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย อยู่ใน พระอุปถัมภ์ ราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ พระบรม มหาราชวัง มีหนังสือสำนักราชเลขาธิการ ที่ รล 0012.3/8977 ลงวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 ถึง รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ นายก สมาคมฯ แจ้งว่าราชเลขาธิการได้นำความกราบทูล ทราบฝ่าพระบาทแล้ว ทรงรับสมาคมเทคนิคการแพทย์ แห่งประเทศไทย อยู่ในพระอุปถัมภ์ นับเป็นสิริมงคล ต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ นำมาซึ่งความชื่นชมยินดี และปลาบปลื้มใจแก่นักเทคนิคการแพทย์ทั้งมวลเป็น ล้นพ้น ดังนั้นชื่อสมาคมทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ คือ “สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่ง ประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ” “The Association of Medical Technologist of Thailand under the Patronage of HRH Princess Soamsawali”
สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย เป็นองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ในการพัฒนา สาธารณสุข
สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ได้ยื่นคำขอขึ้นทะเบียน เป็นองค์กรเอกชนสาธารณ- ประโยชน์ในการพัฒนาสาธารณสุข และได้รับการ พิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการพิจารณาจัดสรร งบประมาณสนับสนุนองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ ในการพัฒนาสาธารณสุข ทะเบียนเลขที่ ส.3 เมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 โดยสมาคมฯ ได้รับ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ จากกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2536 หลายโครงการ อาทิ โครงการส่งเสริมคุณภาพวิชาชีพเทคนิคการแพทย์โดย ระบบสารสนเทศทางชันสูตรสาธารณสุข โครงการ แนะนำ วิชาชีพเทคนิคการแพทย์แก่โรงเรียนระดับ มัธยมศึกษา และโครงการสำรวจบุคลากรที่ทำงานใน ห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค เป็นต้น
29 มิถุนายน เป็นวันเทคนิคการแพทย์ไทย
องค์กรวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ อัน ประกอบด้วยสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศ ไทย สภาเทคนิคการแพทย์ และสภาคณบดีสถาบัน ผลิตบัณฑิตเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ได้เห็น ชอบตามที่รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ และรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย ศรไชย คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เสนอในการประชุมคณะกรรมการสภาเทคนิคการ แพทย์ ครั้งที่ 3/2550 วันอังคารที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2550 ให้กำหนดวันที่ 29 มิถุนายนของ ทุกปีเป็น วันเทคนิคการแพทย์ไทย เนื่องจากเป็นวันสถาปนา คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล) ขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทย ตามประกาศกฤษฎีกาการจัดตั้ง คณะเทคนิค การแพทย์ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2500 (ลงใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 60 วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป และเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีเทคนิค การแพทย์ไทย สภาเทคนิคการแพทย์ โดยคณบดี คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล (รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย ศรไชย) ได้ประสานกับกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง จัดทำ เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก 50 ปี เทคนิคการแพทย์ไทย ชนิดราคา 10 บาท จำนวน 3 ล้านเหรียญ
เพลง สี และดอกไม้ประจำวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนา ศานติยานนท์ นายกสมาคมฯ ชุดที่ 24 ได้ริเริ่มให้มีการจัดทำ เพลง และคัดเลือก สี และดอกไม้ประจำ วิชาชีพเทคนิค การแพทย์ขึ้น โดยในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555 สมาคมฯ ได้ประกาศให้สมาชิกทราบทั่วกันดังนี้
  1. เพลงประจำ วิชาชีพ คือ เพลง ดุริยาราชาวดี มีความหมายว่า บทเพลงแห่งพระราชา โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ศราวุธ สุทธิรัตน์ คณะเทคนิค การแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เจ้าของรางวัลชนะเลิศการประกวดร้อยกรองระดับชาติ หลายรางวัล เป็นผู้ประพันธ์คำ ร้อง นายธานินทร์ เคนโพธิ์ เป็นผู้ประพันธ์ทำนอง และ นายภิทูร พลชนะ เป็นผู้เรียบเรียงดนตรี ซึ่งทั้งสองเป็นเจ้าของผลงาน บทเพลงรักแห่งแผ่นดิน ซึ่งเป็นเพลงเทิดพระเกียรติ พ่อหลวงของชาวไทย เพลงดุริยาราชาวดี ขับร้องโดย นักร้องชาย นายธานินทร์ เคนโพธิ์ และ นักร้องหญิง คุณสุชัญญ์ญา นรปฏิพัทธิ์
  2. สีประจำวิชาชีพ คือ สีแดงเลือดนก
  3. ดอกไม้ประจำวิชาชีพ คือ ดอกราชาวดี
โลโก้ 50 ปี สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่ง ประเทศไทย สมาคมฯ
Screenshot 2015-04-14 16.15.41
สมาคมฯ ได้จัดให้มีการประกวดโลโก้ 50 ปี สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย โดยได้รับ การสนับสนุนเงินรางวัลจำนวน 10,000 บาท จาก นายนิเวศน์ ประยูรเธียร บริษัท กิบไทย จำกัด โดย ผู้ชนะเลิศในการประกวดโลโก้ คือ คุณขนาน กิมเทศ ความหมายของโลโก้ 50 ปี สมาคมเทคนิค การแพทย์แห่งประเทศไทย คือ
50 (สีทอง) หมายถึง ครบรอบ 50 ปีทอง ของสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย การใช้ ตัวเลขอารบิกแสดงถึงความเป็นสากล ลักษณะอักษร แสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย และปลายเลขศูนย์ แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของวิชาชีพ AMTT หมายถึง สมาคมเทคนิคการแพทย์ แห่งประเทศไทย (เป็นชื่อย่อสมาคมฯ เป็นภาษา อังกฤษ) หยดเลือดสีแดง ข้างในมีกล้องจุลทรรศน์ และ ฟลาสก์ หมายถึง ความเป็นวิชาชีพเทคนิคการ แพทย์ เครื่องหมาย Infinity (ตรงกลาง) หมายถึง ความมุ่งมั่นในการพัฒนาทางวิชาการ และวิชาชีพ เทคนิคการแพทย์มาอย่างต่อเนื่องและต่อไปไม่สิ้นสุด
อ้างอิง
50 ปี สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย (50th Anniversary of The Association of Medical Technologist of Thailand), สมชาย วิริยะยุทธกร – วารสารเทคนิคการแพทย์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 3 ธันวาคม 2556.

ค้นหา